วันอังคารที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555

การบ้าน ม.2/3

ให้นักเรียนโพสต์ข่าวสารเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น ด้านคอมพิวเตอร์ ด้านอินเทอร์เน็ต เป็นต้น

25 ความคิดเห็น:

  1. ...โปรดระวัง! เว็บไซต์ อีเมล์ โทรศัพท์ ปลอมแปลง ...
    4 พฤศจิกายน 2554
    TMB ได้ตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้บริการธุรกรรมออนไลน์เสมอมา อย่างไรก็ตาม ธนาคารฯขอเรียนให้ท่านได้ตระหนักถึงสิ่งที่สามารถช่วยเสริมความปลอดภัยให้กับบัญชีท่านขึ้นไปอีก ความระมัดระวังและรอบคอบคือเครื่องมือที่ดีที่สุดในการป้องกันภัยจากบุคคลผู้ประสงค์ร้ายทั้งปวง ซึ่งมักใช้วิธีการล่อลวงดังต่อไปนี้


    เว็บไซต์ปลอมแปลง :
    TMB มีเว็บไซต์ประจำธนาคารเอง ซึ่งได้แก่ www.tmbbank.com แม้ว่าธนาคารฯจะมีการให้บริการผ่านเว็บไซต์อื่นสำหรับลูกค้ากลุ่มต่างๆก็ตาม ธนาคารฯขอแนะนำให้ท่านเข้าสู่ระบบต่างๆโดยผ่าน www.tmbbank.com เป็นแห่งแรก เพื่อความมั่นใจสูงสุด หากท่านพบเว็บไซต์อื่นที่มีลักษณะเหมือน TMB Bank แต่มิใช่ชื่อเว็บตามที่ธนาคารฯแนะนำเช่นข้างต้น ขอความกรุณาให้ท่านหลีกเลี่ยง ไม่ทำธุรกรรมในเว็บนั้นเนื่องจากอาจเป็นกลลวงของผู้ไม่ประสงค์ดี

    อีเมล์ปลอมแปลง :
    ธนาคารฯจะไม่มีการส่งอีเมล์มายังท่านเพื่อขอให้ท่านทำการคลิกที่ลิงค์เข้าสู่ระบบเพื่อการทำธุรกรรมใดๆ หากท่านได้รับอีเมล์ที่แสดงเจตนา ให้ท่านทำธุรกรรมทางออนไลน์ดังกล่าว กรุณาอย่าคลิกลิงค์ใดๆทั้งสิ้นแม้ว่าข้อความจะน่าเชื่อถือเสมือนส่งจาก TMB เองก็ตาม ทุกครั้งที่ท่านต้องการทำธุรกรรม กรุณาเข้าสู่ระบบโดยการพิมพ์ชื่อเว็บไซต์ด้วยตัวท่านเอง จะเป็นวิธีที่ปลอดภัยที่สุด

    การติดต่อทางโทรศัพท์โดยปลอมเป็นเจ้าหน้าที่ธนาคาร :
    ธนาคารไม่มีนโยบายให้พนักงานติดต่อไปยังลูกค้าเพื่อสอบถามเกี่ยวกับหมายเลขบัญชี หมายเลขบัตรเครดิต หรือข้อมูลส่วนตัวโดยไม่มีสาเหตุ หากท่านพบการติดต่อจากบุคคลที่เข้าข่ายปลอมแปลงเป็นเจ้าหน้าที่ธนาคารดังกล่าว กรุณาอย่าให้ข้อมูลใดๆทั้งสิ้น และหากท่านต้องการติดต่อธนาคาร สามารถติดต่อได้ที่โทร 1558

    ท้ายสุดนี้ หากท่านต้องการติดต่อธนาคาร เพื่อสอบถามหรือดำเนินการใดๆเกี่ยวกับบัญชีของท่าน ขอความกรุณาพิมพ์ชื่อเว็บไซต์ www.tmbbank.com เพื่อเข้าใช้งานด้วยตัวท่านเอง หรือติดต่อมายังธนาคารผ่านหมายเลข 1558 เพียงเท่านี้ ท่านจะได้รับความมั่นใจและเป็นการเสริมความปลอดภัยในโลกแห่งธุรกรรมออนไลน์สูงสุดโดยไม่ตกเป็นเหยื่อของมิจฉาชีพใดๆ

    คลิกที่นี่ เพื่ออ่านข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับนโยบายรักษาความลับ
    คลิกที่นี่ เพื่ออ่านข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับภัยทุจริตทางอินเทอร์เน็ตประเภท Phishing
    คลิกที่นี่ เพื่อทำความรู้จักกับระบบความปลอดภัยแบบสองชั้น (Two-Factor Authentication) ซึ่งเป็นระบบกรอกรหัสผ่าน 2 ครั้ง ในการทำธุรกรรมบนทีเอ็มบีอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้ง
    ________ด.ช.อิรฟาน เจะโส๊ะเจะหลี ม.2/3 เลขที่ 4 4269 ______ ^^

    ตอบลบ
  2. ช่วยบอกให้เพื่อน ๆ ทำงานส่งด้วยน่ะครับ

    ตอบลบ
  3. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  4. ทดลองเขียน

    ตอบลบ
  5. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  6. เมื่อเวลา 09.00 น. วันที่ 19 ก.ย. พล.ต.ต.ปัญญา มาแม่น รองผบชก. นำทีมพล.ต.ต.อดิศร์ งามจิตสุขศรี ผบก.ทท. แถลงข่าวจับ

    กุม น.ส.ลิซ่า บาร์นเนส อายุ 39 ปี น.ส.แคโรลีน เฮเลน อายุ 32 ปีนายปีเตอร์ โทมัส อายุ 37 ปี นายทิม ซิลินสกี้ อายุ 26 ปี สัญชาติอังกฤษ น.ส.มาวิซ แบ็กเคย์ เปียเนีย อายุ 30 ปี สัญชาติฟิลิปปินส์ และนายซาเวียร์ เบอร์กี้ อายุ 39 ปี สัญชาติฝรั่งเศส พร้อมของกลางเครื่องมือและอุปกรณ์สื่อสาร อาทิ เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก โทรศัพท์มือถือ และเอกสารจำนวมมาก ในข้อหาร่วมกันนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นหรือประชาชน ร่วมกันเผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลอันเป็นเท็จ และเป็นบุคคลต่างด้าวทำงานโดยไม่ได้รับอนุญาต



    ฝรั่งตุ๋น - พล.ต.ต.ปัญญา มาเม่น รองผบชก.
    แถลงข่าวตำรวจท่องเที่ยวจับกุมชาวต่างชาติ 6 คน
    ทั้งชาวอังกฤษ ฝรั่งเศส และฟิลิปปินส์ ตั้งบริษัทเก๊ในเมืองไทย
    หลอกลวงตุ๋นเหยื่อทางอินเตอร์เน็ตได้เงินไปกว่า 100 ล้านบาท เมื่อวันที่ 19 ก.ย.


    พล.ต.ต.ปัญญา เปิดเผยว่า สืบเนื่องจากตำรวจท่องเที่ยวได้รับแจ้งจากตำรวจสากลว่า

    มีกลุ่มคนร้ายร่วมกันจัดตั้งบริษัทปลอมขึ้นมาจำนวนหลายบริษัท และติดต่อทางอินเตอร์เน็ต เพื่อหลอกลวงให้ผู้เสียหายติดต่อทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต และโอนเงินไปต่างประเทศ กลุ่มแก๊งดังกล่าวได้จัดตั้งบริษัทอยู่ในประเทศไทย และฟิลิปปินส์ ชุดสืบสวนจึงออกตรวจสอบการใช้คอมพิวเตอร์ จนพบว่าแก๊งดังกล่าวซึ่งเป็นชาวต่างชาติ ได้รวมตัวกันอยู่ที่บ้านเลขที่ 58/2 ซ.ทองหล่อ 25 ถ.สุขุมวิท 55 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา

    โดยเปิดบริษัทหลอกลวงให้คนมาลงทุนซื้อหุ้น แล้วเอาทรัพย์สินของผู้ถูกหลอกลวงไป

    "ผู้ต้องหาได้ใช้ชื่อบริษัทปลอม และเอกสารปลอมทุกอย่าง ยกเว้นแต่หมายเลขโทรศัพท์ที่ใช้ของบริษัทที่มีอยู่จริง เมื่อลูกค้าโทรศัพท์เข้าไป จะใช้วิธีดักข้อมูลของลูกค้าไว้ในกล่องรับข้อความเสียงทางโทรศัพท์ แล้วจะติดติดกลับไปแล้วให้เบอร์โทรศัพท์ติดต่อกับลูกค้าใหม่โดยตรง ซึ่งแก๊งดังกล่าวได้เงินไปกว่า 100 ล้านบาท" รองผบช.ก.กล่าว

    ขอขอบคุณเนื้อหาข่าว คุณภาพดี โดย: หนังสือพิมพ์ข่าวสด


    โดย :ฟากฟ้าทะเลฝัน (ทีมงาน TeeNee.Com) โพสเมื่อ [ วันอาทิตย์ ที่ 20 กันยายน 2552 เวลา 09:17 น.]




    เด็กชายเอกรัตน์ สายสหัส ม. 2 /3

    ตอบลบ
  7. นายยู ผู้ต้องหาได้คัดลอก 4,000 เอกสารที่มีข้อมูลการออกแบบของบริษัทฟอร์ด รวมถึงเครื่องมือและการส่งระบบย่อยต่างๆ การตั้งระบบจำหน่ายไฟฟ้าประตู, ห้องพัก, กระจก, ล้อระบบไฟฟ้า และ ที่ปัดน้ำฝน ข้อกล่าวหาในการขโมยของเขาได้ระบุว่าเขาได้ทำการขโมยข้อมูลในเดือนธันวาคม 2006 เป็นส่วนมาก หลังจากนั้นไม่นานก่อนที่เขาลาออกจากงานวิศวกรรมของเขาที่ฟอร์ดก่อนที่จะไปหางานในตำแหน่งเดิมในบริษัทในประเทศจีน ในฤดูใบไม้ผลิปี 2008 เขาถูกกล่าวหาว่าขโมยข้อมูลบริษัทฟอร์ดในขณะที่หางานในประเทศจีน.
    ด.ช บูรฮาล ยีสะลาน ม.2/3 เลขที่16

    ตอบลบ
  8. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ
    อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่อยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทำที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรือมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์โดยตรง

    ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจำแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์

    โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผู้บริโภค นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนโยบายปัจจุบันและความพยายามในการปัญหานี้


    ด.ช.อิบรอเฮง สาและ เลขที่ 3 4268

    ตอบลบ
  9. เมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา รายงานประจำปีของ ICCC ได้เปิดเผยถึงสถิติอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งในปี 2008 ที่ผ่านมา ทางหน่วยงานได้รับการแจ้งความเสียหายในเรื่องดังกล่าวมากกว่า 275,000 คดี เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้านั้นที่พบว่า มีการแจ้งประมาณ 207.000 ราย โดยหากคิดเป็นมูลค่าของความสูญเสียจากการถูกหลอกทั้งหมด 265 ล้านเหรียญฯ มากขึ้นกว่าปีก่อนถึง 25 ล้านเหรียญฯ

    ประมาณหนึ่งในสามของการร้องเรียนจะเป็นเรื่องของการไม่ชำระ หรือไม่ส่งสินค้า ส่วนที่เหลือ ซึ่งเป็นส่วนใหญ๋ของการถูกฉ้อโกงจะอยู่ในเรื่องของการประมูล, การลักลอบใช้บัตรเครดิต และเดบิต ทั้งนี้ทางหน่วยงานได้ส่งคำร้องเรียนกว่า 70,000 กรร๊ให้ตัวแทนฝ่ายกฎหมายให้นำเรื่องราวไปดำเนินการสืบสวนต่อไปแล้ว

    นอกจากนี้ ข้อมูลจากทางกลุ่มยังระบุอีกด้วยว่า ผู้เสียหายส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย โดยมีสถิติถูกหลอกง่ายกว่าผู้หญิง ซึ่งหากคิดเป็นความเสียหายจะมากกว่าผู้หญิง 1.7 เท่า อย่างไรก็ตาม การที่สถิติของความเสียหาย(มูลค่า)ออกมาในลักษณะนี้ อาจเป็นเพราะชนิดของสินค้าและบริการที่ผู้หญิงและผู้ชายเลือกช้อปบนออนไลน์นั้นแตกต่างกันด้วยนั่นเอง ด.ช.บูคอรี ดินอะ 4462

    ตอบลบ
  10. เดี๋ยวนี้ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน ทำอะไร ก็ดูเหมือนจะหาความปลอดภัยได้ยากจริงๆนะคะ ยิ่งในช่วงปิดเทอมแบบนี้ด้วยแล้ว ความเสี่ยงที่จะเกิดอาชญากรรมในสังคมยิ่งมีสูงขึ้น …
    อย่างล่าสุด ทางสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ก็ออกมาพูดถึงการก่ออาชญากรรมทางเพศในร้านเกมส์ที่เพิ่งเกิดขึ้นมาในช่วงไม่กี่วันนี้ …รายละเอียดของข่าวนี้จะเป็นยังไง พี่เหมี่ยวว่าเรามาติดตามกันดีกว่าค่ะ

    เมื่อวันที่ 24 เมษายน สำนักงานตำรวจแห่งชาติ(ตร.) พล.ต.ท.วัชรพล ประสารราชกิจ ผู้ช่วยผบ.ตร.ในฐานะโฆษกตร. กล่าวถึงกรณีที่มีการทำอนาจารเด็กชายในร้านเกมส์ว่า เรื่องนี้ยังไม่ทราบรายละเอียดในทางคดี แต่อย่างไรก็ตามเมื่อมีคดีลักษณะนี้เกิดขึ้นเจ้าหน้าที่ตำรวจมีหน้าที่ติดตามจับกุมผู้กระทำความผิดมาลงโทษ ซึ่งการดูแลจัดระเบียบร้านเกมส์นั้นเป็นหน้าที่ของส่วนราชการหลายๆ ส่วนที่ต้องช่วยกันดูแลไม่ใช่หน้าที่ของตำรวจฝ่ายเดียว พ่อแม่ผู้ปกครองเองก็ต้องดูแลลูกหลานที่ออกไปเล่นพักผ่อนหย่อนใจหรือหาความรู้ทางคอมพิวเตอร์ในร้านเกมส์ด้วยและควรตระหนักว่าอาจจะมีสิ่งไม่มีเกิดขึ้น

    ส่วนการไปเล่นเกมส์แล้วเด็กอาจเข้าเว็บลามกต่างๆนั้น นั้นเจ้าหน้าที่ตำรวจไม่มีสิทธิ์ไปบล๊อกเว็บเหล่านี้เป็นหน้าที่ของประทรวงไอซีทีที่จะดูแลรับผิดชอบแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ แต่ตำรวจก็มีศูนย์ตรวจสอบการประทำผิดทางเทคโนโลยีที่ดูแลเรื่องนี้อยู่ จะคอยตรวจสอบอย่างกรณีเว็บไฮไฟ เป็นต้น ซึ่งทางศูนย์ก็จะเฝ้าดูแล

    เห็นไหมคะว่า “ภัย” อยู่ใกล้ๆตัวเราจริงๆนะคะ ไม่ว่าจะยังไงพี่เหมี่ยวก็ต้องขอให้น้องๆทุกคนระแวดระวังอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นในรูปแบบที่เราไม่คาดคิดไว้ด้วยนะคะ ... ทางที่ดีจะไปไหนทำอะไรก็ควรจะชวนเพื่อนๆไปกันเป็นกลุ่มนะคะมีอะไรจะได้ช่วยเหลือกันได้ค่ะ
    ด.ช.ธนพล สาเร๊าะ 4313 2-3

    ตอบลบ
  11. นายยู ผู้ต้องหาได้คัดลอก 4,000 เอกสารที่มีข้อมูลการออกแบบของบริษัทฟอร์ด รวมถึงเครื่องมือและการส่งระบบย่อยต่างๆ การตั้งระบบจำหน่ายไฟฟ้าประตู, ห้องพัก, กระจก, ล้อระบบไฟฟ้า และ ที่ปัดน้ำฝน ข้อกล่าวหาในการขโมยของเขาได้ระบุว่าเขาได้ทำการขโมยข้อมูลในเดือนธันวาคม 2006 เป็นส่วนมาก หลังจากนั้นไม่นานก่อนที่เขาลาออกจากงานวิศวกรรมของเขาที่ฟอร์ดก่อนที่จะไปหางานในตำแหน่งเดิมในบริษัทในประเทศจีน ในฤดูใบไม้ผลิปี 2008 เขาถูกกล่าวหาว่าขโมยข้อมูลบริษัทฟอร์ดในขณะที่หางานในประเทศจีน. ด.ช.มูฮัมมัดซิ๊ดฏิค หนุหลี

    ตอบลบ
  12. ก.ไอซีที เดินหน้าโครงการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
    ThaiPR.net
    พ.ต.อ.สุชาติ วงศ์อนันต์ชัย ผู้ตรวจราชการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เปิดเผยภายหลังการอบรมแนวทางการ จู่โจมและรับมือภัยคุกคามทางด้านอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ว่า ปัจจุบันการใช้งานอินเmอร์เน็ตมีอัตราที่สูงขึ้นทุกปี โดยจากสถิติภาพรวมผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยของหน่วยปฏิบัติการวิจัยเทคโนโลยีเครือข่ายอ่านต่อ
    โดย ด.ช.มูฮัมหมัดลุตฟี ดินอะ เลขที่ประจำตัว 4352

    ตอบลบ
  13. ข่าวอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์!!!
    ข่าวอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์!!! พ.ต.ท.สถาพร รอดโพธิ์ทอง รอง ผกก.ฝ.5 ร่วมกับ พ.ต.ท.สุรวุฒิ แสงรุ่งเรือง สวป.สภ.เมืองสมุทรปราการ ร.ต.อ.นพดล ช่างเรือน รอง สวป. พร้อมกำลัง นำหมายศาลอาญากรุงเทพใต้ หมายเลข 419/2551จับกุมนายดุสิต พิมพ์สุวรรณ อายุ 20 ปี ได้ที่ห้องพักหมายเลข 1202 ชั้น 2 บ้านพักเจ้าท่าสมุท...
    ดอกไม้: 0 · ความเห็น: 2 · อ่าน: 1071 · สร้าง: 11 เดือน ที่แล้ว
    โดย ด.ช.ซากีรีน เจะหวังหมะ เลขที่ 34

    ตอบลบ
  14. กรุงเทพฯ 30 มิ.ย. วิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ หัวเรื่อง: Workshop on Computer Crime Prevention, การป้องกันอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ Message : เชิญเข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ "Workshop on Computer Crime Prevention : การป้องกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร์" วันพุธที่ 9 กรกฎาคม 2551 เวลา 09:00 16:00 น. ณ วิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพอ่านต่อ
    โดย ด.ช.ณัฐนันท์ หมัดนุ้ย เลขที่ 17

    ตอบลบ
  15. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ

    อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่อยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทำที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรือมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์โดยตรง

    ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจำแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์

    โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผู้บริโภค นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนโยบายปัจจุบันและความพยายามในการปัญหานี้

    อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่
    การเงิน – อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทำธุรกรรม อี-คอมเมิร์ซ(หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)

    การละเมิดลิขสิทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและอินเทอร์เน็ตถูกใช้เป็นสื่อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง การละเมิดลิขสิทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจำหน่ายหรือเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์

    การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และในบางกรณีอาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การเจาะระบบยังอาจรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การก่อการร้าย ฯลฯ)

    การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทั่วไป โดยการกระทำที่เข้าข่าย การก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-terrorism) จะเกี่ยวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคลหรือทรัพย์สิน หรืออย่างน้อยก็มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว

    ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกำหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผลหรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย และตามข้อกำหนด 47 USC 223 การเผยแพร่ภาพลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกระทำที่ขัดต่อกฎหมาย อินเทอร์เน็ตเป็นเพียงช่องทางใหม่สำหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่องวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่องทางการสื่อสารที่ครอบคลุมทั่วโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุนี้ได้ก่อให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง

    ภายในโรงเรียน – ถึงแม้ว่าอินเทอร์เน็ตจะเป็นแหล่งทรัพยากรสำหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่เยาวชนจำเป็นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ โดยเป้าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับข้อกำหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการป้องกันการใช้อินเทอร์เน็ตในทางที่ผิด
    บทความโดย : กลุ่มพันธมิตรธุรกิจซอฟต์แวร์

    โดย ด.ช. อนันต์ อะหวัง 4323

    ตอบลบ
  16. สลด! เกิดเหตุหนุ่มเชียงราย ใช้เหล็กทุบหัวแม่บังเกิดเกล้า เสียชีวิตคาบ้าน พร้อมห่อศพเตรียมซ่อน เจ้าตัวยังไม่ยอมให้การใด ๆ ขณะเพื่อนบ้าน ระบุ ผู้ก่อเหตุชอบเก็บตัวเงียบอยู่กับบ้าน ไม่ทำงาน หลังเมียและลูก ออกจากบ้านไปกว่า2 ปี

    เจ้าหน้าที่ตำรวจ สภ.เมืองเชียงราย รับแจ้งมีเหตุฆ่ากันตาย หมู่บ้านเอื้ออาทร อ.เมือง จ.เชียงราย ไปตรวจสอบ ที่เกิดเหตุ บ้านเช่า 2 ชั้น พบศพผู้เสียชีวิต ทราบชื่อ นางลีซอ ชือเม่อ อายุประมาณ 55 ปี ชาวเขาเผ่าอาข่า ไม่มีบัตรประชาชน จากการตรวจสอบสภาพศพถูกห่อด้วยผ้า และนำผ้าห่มมาปิดทับไว้อีกชั้นหนึ่ง ตรวจสอบพบว่าบริเวณที่ศีรษะมีบาดแผลฉกรรจ์ถูกทุบด้วยของแข็งจนสมองกระจาย เลือดสาดไปทั่วฝาผนังในห้องนอน

    ส่วนคนร้ายสามารถติดตามตัว คือ นายอาภ่า ชือเม่อ อายุประมาณ 30 ปี ซึ่งเป็นลูกชายผู้เสียชีวิต พร้อมอาวุธที่ใช้ก่อเหตุดังกล่าว โดยไม่ยอมให้การใด ๆ สอบถามเพื่อนบ้านทราบว่า นายอาภ่า อาศัยอยู่กับผู้เสียชีวิตในบ้านหลังดังกล่าว แต่ นายอาภ่า มีนิสัยไม่ค่อยพูดไม่ค่อยจา เก็บตัวเงียบอยู่กับบ้าน ไม่ทำงาน หลังภรรายาและลูก ออกจากบ้านไปนานกว่า 2 ปี
    โดย...ด.ช.แสงสุรี ยาเล๊าะ เลขที่10 4318

    ตอบลบ
  17. รบ.เสือเหลืองสั่งรับมือ 'แฮ็คเกอร์'เตรียมป่วนเครือข่ายคอมพิวเตอร์

    รัฐบาลมาเลเซียสั่งทีมเจ้าหน้าที่ด้านการป้องกันอาชญากรรมในโลกไซเบอร์เตรียมรับมือ หลังกลุ่มแฮ็คเกอร์ประกาศจะโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของรัฐเพื่อตอบโต้กา...

    โดย
    ด.ช. อิซฮษ เเดวอสนุง เลขที่ 22

    ตอบลบ
  18. คอมพิวเตอร์คืออะไร
    ปัจจุบันจะพบว่าคอมพิวเตอร์มีหลากหลายลักษณะ หลากหลายรูปแบบ ทั้งคอมพิวเตอร์ขนาดพกพา คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น คอมพิวเตอร์เมนเฟรม หรือซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่ไม่ว่าจะเป็น รูปแบบใดก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็มีความหมายที่ชัดเจนในตัวของมันเอง คือ เครื่องคำนวณ ในรูปของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูล และคำสั่ง ผ่านอุปกรณ์รับข้อมูล แล้วนำข้อมูลและคำสั่งนั้น ไปประมวลผลด้วยหน่วยประมวลผล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ ละแสดงผลผ่านอุปกรณ์แสดงผล ตลอดจนสามารถบันทึกรายการต่างๆ ไว้เพื่อใช้งาน ได้ด้วยอุปกรณ์บันทึกข้อมูลสำรอง คอมพิวเตอร์จึงสามารถ มีรูปร่างอย่างไรก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นรูปร่างอย่างที่เราคุ้นเคย หรือพบเห็น ตัวอย่างเช่น เครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติ หรือ ATM ก็ถือว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง โดย อรรถพล สะอุ รัหส 4326

    ตอบลบ
  19. นายลีออน พาเนตตา รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐฯ กล่าวหลังการพบปะกับนายเหลียง กวงลี่ รัฐมนตรีกลาโหมจีน ที่เดินทางเยือนสหรัฐฯ ว่า ทั้งสองฝ่ายจะร่วมมือกันปราบปรามอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยขณะนี้ทั้งจีนและสหรัฐฯ ต่างมีความก้าวหน้าในเรื่องดังกล่าว ซึ่งถือว่ามีความสำคัญต่อการพัฒนาความร่วมมือระหว่างกัน
    ด้านนายเหลียง กล่าวว่า เขาและนายพาเนตตา ได้เจรจากันเกี่ยวกับแนวทางต่างๆ ในการรักษาความปลอดภัยทางคอมพิวเตอร์ให้เข้มงวด และใช้โอกาสนี้กล่าวปกป้องจีนว่า ไม่เห็นด้วยนักที่จะระบุว่า การโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ของสหรัฐฯ มาจากฝีมือนักเจาะระบบคอมพิวเตอร์ หรือ แฮกเกอร์จีนโดยตรง หลังจากเมื่อ 6 เดือนที่แล้ว เจ้าหน้าที่ข่าวกรองของสหรัฐฯ เคยกล่าวหาว่า จีนขโมยข้อมูลไฮเทคของสหรัฐฯ เพื่อหวังประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
    ด.ช. มูฮัมหมัด ชูมุง

    ตอบลบ
  20. กวันนี้เรามักจะได้ยินข่าวการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ตกันบ่อยครั้งขึ้น เช่น เมื่อไม่นานมานี้ได้มีข่าวที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นใจของผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง ซึ่งตามข่าวที่เกิดขึ้นได้มีผู้ไม่หวังดีส่งอีเมลโดยแอบอ้างว่ามาจากธนาคารพาณิชย์แห่งนั้นและส่งออกไปยังผู้รับเพื่อขอให้ผู้รับแก้ไขข้อมูลส่วนตัวโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการคุ้มครองประโยชน์ของลูกค้าเอง หรือจะเป็นกรณีที่คนต่างชาติคนหนึ่งได้ส่งอีเมลไปยังห้างขายส่งสินค้าชื่อดังของประเทศอังกฤษ ที่ประเทศอังกฤษ เนื้อหาใจความในอีเมลมีว่าหากห้างดังกล่าวไม่ทำการโอนเงินมาให้ผู้นั้นตามที่ร้องขอ ผู้นั้นจะทำการปลอมปนสารพิษเข้าไปกับอาหารที่วางจำหน่ายในห้างดังกล่าว ภายหลังการตรวจสอบปรากฎว่าอีเมลนั้นถูกส่งออกไปจากประเทศไทย จากร้านที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต ที่ตั้งอยู่บนถนนนานา เป็นต้น



    พฤติการณ์เช่นนี้เป็นผลพวงที่สืบเนื่องมาจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้พัฒนาและเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่งผลให้วัฒนธรรมการใช้ชีวิตของมนุษย์เราเปลี่ยนแปลงไป โดยผู้คนหันมาใช้อินเทอร์เน็ตเพื่ออำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิตประจำวันกันมากขึ้น ซึ่งในแง่หนึ่งก็ส่งผลดีและให้คุณประโยชน์หลายประการแก่ผู้ใช้ แต่ในความสะดวกสบายนั้นก็มีภัยอันตรายแฝงมาด้วยเช่นกัน ซึ่งหากจะพูดว่าอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนการย่อโลกหรือเป็นโลกไร้พรมแดนก็ไม่เป็นการพูดที่เกินความจริง เพราะไม่ว่าเราจะอยู่ที่ใดในโลกเพียงสามารถเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เราก็สามารถติดต่อสื่อสารกับผู้คนอีกฟากหนึ่งของโลกได้ นอกจากนี้ยังสามารถใช้อินเทอร์เน็ตเป็นทางผ่านเพื่ออำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐาน เช่น การค้นหาข้อมูล การอ่านหนังสือพิมพ์ การดูหนังฟังเพลง การซื้อขายของ การพูดคุยแลกเปลี่ยนความเห็น หรือแม้กระทั่งการทำธุรกรรมทางการเงิน ราวกับว่าเป็นสังคมอีกสังคมหนึ่งเลยทีเดียวก็ว่าได้ ซึ่งปัจจุบันได้พัฒนาไปถึงขั้นที่ผู้คนสามารถเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้จากโทรศัพท์มือถือ เมื่อปริมาณการใช้งานผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีรูปแบบหลากหลายและมีปริมาณมากขึ้นเช่นนี้ อีกทางหนึ่งก็เป็นการสร้างโอกาสให้คนอีกกลุ่มหนึ่งอาศัยเป็นช่องทางในการกระทำความผิดอันก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ซึ่งความผิดที่กระทำผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเหล่านี้ ถือได้ว่าเป็น
    อาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ “E-crime”
    ด.ช.อิสมาแอล เหมมา 4426

    ตอบลบ
  21. ไม่ระบุชื่อ3 กรกฎาคม 2555 เวลา 01:28

    อาชญากรคอมพิวเตอร์อาชญากรคอมพิวเตอร์ คือ ผู้กระทำผิดกฎหมายโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นส่วนสำคัญ มีการจำแนกไว้ดังนี้ 1.Novice เป็นพวกเด็กหัดใหม่(newbies)ที่เพิ่งเริ่มหัดใช้คอมพิวเตอร์มาได้ไม่นาน หรืออาจหมายถึงพวกที่เพิ่งได้รับความไว้วางใจให้เข้าสู่ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
    2.Darnged person คือ พวกจิตวิปริต ผิดปกติ มีลักษณะเป็นพวกชอบความรุนแรง และอันตราย มักเป็นพวกที่ชอบทำลายทุกสิ่งที่ขวางหน้าไม่ว่าจะเป็นบุคคล สิ่งของ หรือสภาพแวดล้อม
    3.Organized Crime พวกนี้เป็นกลุ่มอาชญากรที่ร่วมมือกันทำผิดในลักษณะขององค์กรใหญ่ๆ ที่มีระบบ พวกเขาจะใช้คอมพิวเตอร์ที่ต่างกัน โดยส่วนหนึ่งอาจใช้เป็นเครื่องหาข่าวสาร เหมือนองค์กรธุรกิจทั่วไป อีกส่วนหนึ่งก็จะใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นตัวประกอบสำคัญในการก่ออาชญากรรม หรือใช้เทคโนโลยีกลบเกลื่อนร่องร่อย ให้รอดพ้นจากเจ้าหน้าที่
    4.Career Criminal พวกอาชญากรมืออาชีพ เป็นกลุ่มอาชญากรคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่มาก กลุ่มนี้น่าเป็นห่วงมากที่สุด เนื่องจากนับวันจะทวีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ โดยจับผิดแล้วจับผิดเล่า บ่อยครั้ง
    5. Com Artist คือพวกหัวพัฒนา เป็นพวกที่ชอบความก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ส่วนตน อาชญากรประเภทนี้จะใช้ความก้าวหน้า เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และความรู้ของตนเพื่อหาเงินมิชอบทางกฎหมาย
    6.Dreamer พวกบ้าลัทธิ เป็นพวกที่คอยทำผิดเนื่องจากมีความเชื่อถือสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างรุ่นแรง
    7.Cracker หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จนสามารถลักลอบเข้าสู่ระบบได้ โดยมีวัตถุประสงค์เข้าไปหาผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง มักเข้าไปทำลายหรือลบไฟล์ หรือทำให้คอมพิวเตอร์ใช้การไม่ได้ รวมถึงทำลายระบบปฏิบัติการ
    โดย ด.ช.นิสิต มุเส๊ะ

    ตอบลบ
  22. อาชญากรรมคอมพิวเตอร์

    อาชญากรคอมพิวเตอร์จะก่ออาชญากรรมหลายรูปแบบ ซึ่งปัจจุบันทั่วโลกจัดออกเป็น 9 ประเภท (ตามข้อมูลคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจร่างกฎหมายอาชญาญากรรมคอมพิวเตอร์)
    1.การขโมยข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ซึ่งรวมถึงการขโมยประโยชน์ในการลักลอบใช้บริการ
    2.อาชญากรนำเอาระบบการสื่อสารมาปกปิดความผิดของตนเอง
    3.การละเมิดสิทธิ์ปลอมแปรงรูปแบบ เลียนแบบระบบซอพต์แวร์โดยมิชอบ
    4.ใช้คอมพิวเตอร์แพร่ภาพ เสียง ลามก อนาจาร และข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
    5.ใช้คอมพิวเตอร์ฟอกเงิน
    6.อันธพาลทางคอมพิวเตอร์ที่เช้าไปก่อกวน ทำลายระบบสาราณูปโภค เช่น ระบบจ่ายน้ำ จ่ายไป ระบบการจราจร
    7.หลอกลวงให้ร่วมค้าขายหรือลงทุนปลอม
    8.แทรกแซงข้อมูลแล้วนำข้อมูลนั้นมาเป็น)ระโยชน์ต่อตนโดยมิชอบ เช่น ลักรอบค้นหารหัสบัตรเครดิตคนอื่นมาใช้ ดักข้อมูลทางการค้าเพื่อเอาผลประโยชน์นั้นเป็นของตน
    9.ใช้คอมพิวเตอร์แอบโอนเงินบัญชีผู้อื่นเข้าบัญชีตัวเอง
    คำสำคัญ (keywords): อาชญากรรมคอมพิวเตอร์คือ
    สร้าง: 03 สิงหาคม 2550 10:25 · แก้ไข: 03 สิงหาคม 2550 10:28
    ดอกไม้: 0 · ความเห็น: 2 · อ่าน: 3054 · สร้าง: เกือบ 5 ปี ที่แล้ว
    โดย ด.ช.อรรถชัย สะแหละ

    ตอบลบ
  23. ไม่ระบุชื่อ3 กรกฎาคม 2555 เวลา 01:55

    อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่อยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทำที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรือมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์โดยตรง

    ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจำแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์

    โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผู้บริโภค นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนโยบายปัจจุบันและความพยายามในการปัญหานี้

    อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่
    การเงิน – อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทำธุรกรรม อี-คอมเมิร์ซ(หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)

    การละเมิดลิขสิทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและอินเทอร์เน็ตถูกใช้เป็นสื่อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง การละเมิดลิขสิทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจำหน่ายหรือเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์

    การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และในบางกรณีอาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การเจาะระบบยังอาจรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การก่อการร้าย ฯลฯ)

    การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทั่วไป โดยการกระทำที่เข้าข่าย การก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-terrorism) จะเกี่ยวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคลหรือทรัพย์สิน หรืออย่างน้อยก็มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว

    ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกำหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผลหรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย และตามข้อกำหนด 47 USC 223 การเผยแพร่ภาพลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกระทำที่ขัดต่อกฎหมาย อินเทอร์เน็ตเป็นเพียงช่องทางใหม่สำหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่องวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่องทางการสื่อสารที่ครอบคลุมทั่วโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุนี้ได้ก่อให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง
    ภายในโรงเรียน – ถึงแม้ว่าอินเทอร์เน็ตจะเป็นแหล่งทรัพยากรสำหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่เยาวชนจำเป็นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ โดยเป้าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับข้อกำหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการป้องกันการใช้อินเทอร์เน็ตในทางที่ผิด
    โดย ด.ช อันวาร์ อุมา เลขที่ 15 4330

    ตอบลบ
  24. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่อยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทำที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรือมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์โดยตรง

    ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจำแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์

    โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผู้บริโภค นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนโยบายปัจจุบันและความพยายามในการปัญหานี้

    อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่
    การเงิน – อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทำธุรกรรม อี-คอมเมิร์ซ(หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)

    การละเมิดลิขสิทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและอินเทอร์เน็ตถูกใช้เป็นสื่อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง การละเมิดลิขสิทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจำหน่ายหรือเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์

    โดย ยุสรี บิลเต๊ะ เลขที่ 32 รหัส 4422

    ตอบลบ